กลุ่ม | หัวข้อเอกสารวิจัย |
---|---|
กลุ่มที่ 1 | ธรรมาภิบาลสำหรับศูนย์กลางการแพทย์ระดับนานาชาติ (Good Governance for Medical Hub) |
กลุ่มที่ 2 | การพิจารณาคดีจริยธรรมของแพทยสภา: การศึกษาคำพิพากษาศาลปกครอง |
กลุ่มที่ 3 | การบริหารจัดการทางการแพทย์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ |
กลุ่มที่ 4 | ธรรมาภิบาลสำหรับศูนย์กลางการแพทย์ระดับนานาชาติ (Good Governance for Medical Hub) |
กลุ่มที่ 5 | ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนของประเทศไทยอย่างยั่งยืน (กรณีศึกษา : ชุมชนในจังหวัดชลบุรีและกาญจนบุรี) |
กลุ่มที่ 6 | ปัญหาการขาดแคลนพยาบาล : แนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน |
กลุ่มที่ 7 | การผลิตแพทย์หลักสูตรนานาชาติในประเทศไทย |
กลุ่มที่ 8 | ธรรมาภิบาลกับการบริหารทางการแพทย์สำหรับแรงงานต่างประเทศในประเทศไทย กรณีศึกษา : อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร |
กลุ่มที่ 9 | การบูรณาการให้บริการและการชดเชยค่าบริการรักษา พยาบาลผู้ป่วยในของระบบประกันสุขภาพสามกองทุน |
กลุ่มที่ 10 | การเปิดการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านโดยโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย(Residency Training by Private Hospitals in Thailand) |
กลุ่ม | หัวข้อเอกสารวิจัย |
---|---|
กลุ่มที่ 1 | การคุ้มครองผู้เสียหายจากบริการสาธารณสุข ทุกสิทธิด้วยการเพิ่มเติมมาตรา 41 แห่งพระราชบัญญัติหลักประกันสุขภาพ |
กลุ่มที่ 2 | การคุ้มครองผู้รับบริการในสถานพยาบาล : กรณีศึกษาสถานพยาบาลเสริมความงาม |
กลุ่มที่ 3 | ความพร้อมในการนำระบบการจ่ายค่าตอบแทนตามผลปฏิบัติงาน (Pay for Performance) มาใช้ในประเทศไทย |
กลุ่มที่ 4 | แนวทางการแก้กฎหมายฟ้องร้องทางอาญาคดีทางการแพทย์ |
กลุ่มที่ 5 | ปัจจัยแห่งความสำเร็จในการพัฒนาระบบสุขภาพชุมชนของประเทศไทยอย่างยั่งยืน (กรณีศึกษา : ชุมชนในจังหวัดชลบุรีและกาญจนบุรี) |
กลุ่มที่ 6 | ปัญหาการขาดแคลนพยาบาล : แนวทางการแก้ไขปัญหาอย่างยั่งยืน |
กลุ่มที่ 7 | การผลิตแพทย์หลักสูตรนานาชาติในประเทศไทย |
กลุ่มที่ 8 | ธรรมาภิบาลกับการบริหารทางการแพทย์สำหรับแรงงานต่างประเทศในประเทศไทย กรณีศึกษา : อำเภอกระทุ่มแบน จังหวัดสมุทรสาคร |
กลุ่มที่ 9 | การบูรณาการให้บริการและการชดเชยค่าบริการรักษา พยาบาลผู้ป่วยในของระบบประกันสุขภาพสามกองทุน |
กลุ่มที่ 10 | การเปิดการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านโดยโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย(Residency Training by Private Hospitals in Thailand) |
กลุ่ม | หัวข้อเอกสารวิจัย |
---|---|
กลุ่มที่ 1 | Model การใช้ทรัพยากรบุคคลากรทางการแพทย์ร่วมกัน เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนแพทย์เฉพาะทาง |
กลุ่มที่ 2 | การเตรียมตัวของระบบทางการแพทย์และสาธารณสุขทั้งระบบกับสังคมผู้สูงวัยใน 5 ปี ข้างหน้าอย่างเป็นรูปธรรม |
กลุ่มที่ 3 | การพัฒนาต้นทุนมนุษย์ในเด็กและเยาวชนสู่สังคมที่ดี |
กลุ่มที่ 4 | การบริหารจัดการกิจการบ้านเมืองที่ดี |
กลุ่มที่ 5 | Medical Hub : กรณีสึกษาการเป็นศูนย์กลางผลิตภัณฑ์สมุนไพรนานชาติอย่างมีธรรมาภิบาล |
กลุ่มที่ 6 | การวิเคราะห์ผลการบริหารงบประมาณของ สปสช. ภายใต้กฎหมายว่าด้วยหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ การมีส่วนร่วมของสถานพยาบาลและทิศทางที่เหมาะสมตามหลักธรรมมา ภิบาล |
กลุ่มที่ 7 | การใช้หลักธรรมมาภิบาลในการพัฒนาระบบและนโยบายการเป็นหุ้นส่วนภาครัฐและเอกชนสำหรับระบบสาธารณสุขของประเทศ |
กลุ่มที่ 8 | การศึกษาเปรียบเทียบการให้บริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงทีมีภาวะแทรกซ้อนทางไตระหว่างกองทุนหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า กองทุนสวัสดิการข้าราชการ และกองทุนประกันสังคม |
กลุ่มที่ 9 | บทบาทของโรงพยาบาลและสถาบันเอกชนในระบบการแพทยศาสตร์ศึกษาหลังปริญญาตามหลักธรรมาภิบาล |
กลุ่มที่ 10 | โครงสร้างและระบบการมีส่วนร่วมเพื่อคุ้มครองประชาชนและผู้ประกอบวิชาชีพสาธารณสุขตามหลักการของธรรมาภิบาล |
กลุ่ม | หัวข้อเอกสารวิจัย |
---|---|
กลุ่มที่ 1 | การใช้ธรรมาภิบาลในการกำหนดนโยบายด้านอัตรา กำลังแพทย์และพยาบาลของประเทศไทย เช่น ประเด็น คุณภาพชีวิตเพื่อความสมดุลและยั่งยืนของระบบ |
กลุ่มที่ 2 | ศึกษา วิเคราะห์ กฎหมาย และกลไกคุ้มครองเพื่อสร้างความเป็นธรรมให้กับประชาชนในการรับบริการด้วยเทคโนโลยีใหม่ทางการแพทย์ |
กลุ่มที่ 3 | การใช้หลักธรรมาภิบาล วิเคราะห์แนวคิด การจ่ายร่วมค่ารักษาพยาบาลที่เหมาะสมกับระบบสุขภาพไทยที่มีคุณภาพและยั่งยืน |
กลุ่มที่ 4 | การพัฒนาระบบนโยบาย การเป็นหุ้นส่วนภาครัฐ-เอกชน สำหรับระบบสาธารณสุขของประเทศอย่างมีธรรมาภิบาล |
กลุ่มที่ 5 | นโยบายและรูปแบบ การพัฒนาประเทศในการเป็นศูนย์กลางการแพทย์นานาชาติอย่างมีธรรมาภิบาล |
กลุ่มที่ 6 | การควบรวมการบริหารจัดการ 3 กองทุนสุขภาพของประเทศ สปสช.-สปส.-สวัสดิการรักษาพยาบาลข้าราชการ ควรหรือไม่ อย่างไร โดยใช้หลักธรรมาภิบาล |
กลุ่มที่ 7 | การเตรียมตัวของระบบทางการแพทย์และสาธารณสุขทั้งระบบกับสังคมผู้สูงวัยใน 5 ปีข้างหน้าอย่างเป็นรูปธรรม |
กลุ่มที่ 8 | การปฏิรูประบบส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคของประเทศอย่างเป็นรูปธรรม ตามหลักธรรมาภิบาล (National Health Prevention Programs and Financing Reform) |
กลุ่มที่ 9 | ศึกษาวิเคราะห์ผลกระทบของสื่อสังคม (Social Media) ต่อสุขภาพประเด็นปัญหา การป้องกัน การให้ความรู้และกลไกการควบคุมกำกับดูแล |
กลุ่มที่ 10 | ศึกษาปัญหา สิ่งเสพติด เหล้า บุหรี่ ในเยาวชน ในประเด็นนโยบายสาธารณะ และการบังคับใช้ตามหลักธรรมาภิบาล |
กลุ่ม | หัวข้อเอกสารวิจัย |
---|---|
กลุ่มที่ 1 | การศึกษาเมืองต้นแบบในการดูแลผู้สูงอายุที่มีคุณภาพโดยใช้ชุมชนเป็นฐานเทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี |
กลุ่มที่ 2 | การแลกเปลี่ยนข้อมูลสุขภาพเพื่อการให้บริการทางคลินิก แก่ประชาชนไทยบนพื้นฐานธรรมาภิบาล |
กลุ่มที่ 3 | การสำรวจพฤติกรรมสุขภาพและความต้องการการดูแลด้านสุขภาพโดยภาครัฐของผู้สูงอายุกลุ่มสุขภาพดีหรือ Healthy aging มีอายุ 70 ปีขึ้นไป ในพื้นที่ทั้ง 50 เขตของกรุงเทพมหานคร |
กลุ่มที่ 4 | การนำหุ่นยนต์มาใช้ทางการแพทย์ และความรับผิดทางกฎหมาย |
กลุ่มที่ 5 | ผลกระทบของพระราชบัญญัติวิธีพิจารณาคดีผู้บริโภค พ.ศ. 2551 ที่มีผลต่อบุคลากรทาง การแพทย์ และระบบสาธารณสุข |
กลุ่มที่ 6 | การวิจัยสำรวจความคิดเห็นของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการปรับปรุงการออกใบรับรองแพทย์เพื่อขอรับใบอนุญาตขับรถยนต์ |
กลุ่มที่ 7 | Good governance in thai Healthcare Financing |
กลุ่มที่ 8 | การประเมินสถานการณ์การดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันโรคในระดับชุมชน |
กลุ่มที่ 9 | โครงการวิจัย “โมเดลระบบอภิบาลการสื่อสารข้อมูลสุขภาพในสื่อสังคมออนไลน์” |
กลุ่มที่ 10 | การเตรียมบุคลากรเพื่อเข้าสู่ตำแหน่งผู้บริหารโรงพยาบาลระดับโรงพยาบาลศูนย์ และโรงพยาบาลทั่วไป ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข |
กลุ่ม | หัวข้อเอกสารวิจัย |
---|---|
กลุ่มที่ 1 | ความเป็นหุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและเอกชนในระบบสุขภาพกรณีศึกษา โครงการศูนย์การแพทย์เฉพาะทางกรมการแพทย์ |
กลุ่มที่ 2 | การใช้หลักธรรมาภิบาลวิเคราะห์แนวคิด “การร่วมจ่ายค่ารักษาพยาบาล” ที่เหมาะสมกับระบบสุขภาพไทย ที่มีคุณภาพและยั่งยืน |
กลุ่มที่ 3 | การจัดทำข้อมูลสุขภาพชุมชน เพื่อการดูแลสุขภาพผู้สูงวัยในเขตเมือง ด้วยการใช้สื่อสารสนเทศ (กรณีศึกษาบางกอกน้อยโมเดล: Bangkoknoi Model) |
กลุ่มที่ 4 | ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิตของพยาบาลวิชาชีพ ในยุคประเทศไทย 4.0 |
กลุ่มที่ 5 | โทรเวช (Telemedicine) ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อประเทศไทย 4.0 |
กลุ่มที่ 6 | ผลกระทบของการจัดตั้งศูนย์การแพทย์นานาชาติ ในเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก ต่อบุคลากรทางการแพทย์ ไทย/td> |
กลุ่มที่ 7 | ธรรมาภิบาลกับการควบรวม 3 กองทุนสขุ ภาพ ของประเทศไทยกรณีศึกษา :“เจ็บปว่ยฉุกเฉินวิกฤติมีสิทธิทุกที่” |
กลุ่มที่ 8 | บทเรียนและมุมมองเชิงระบบ Ecosystem for Innovation ในการพัฒนาหุ่นยนต์จัดยาครบวงจร ในยุค Thailand 4.0 |
กลุ่มที่ 9 | บทบาทกระทรวงสาธารณสุขตามหลักธรรมาภิบาลในอุดมคติ |
กลุ่มที่ 10 | ประสิทธิผลการส่งเสริมสุขภาพและป้องกันโรคกระทรวงสาธารณสุข ประเทศไทย 2561 |